โรคคอตีบ
เมื่อแพทย์สงสัยว่าผู้ป่วยเป็นโรคคอตีบ แพทย์จะรับตัวเข้ารักษาในโรงพยาบาลและให้อยู่ในห้องแยกโรคเพื่อป้องกันการแพร่กระจาย เฝ้าระวังเรื่องภาวะแทรกซ้อนรุนแรงอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะเรื่องระบบหายใจ เนื่องจากอาจจะมีการอุดกั้นทางเดินหายใจ และระบบไหลเวียนโลหิตเนื่องจากโรคคอตีบอาจจะทำให้เกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ การรักษาแบบประคับประคองตามอาการ เช่น ให้พักผ่อนอย่างเต็มที่เพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อนทางหัวใจ ให้ยาอื่น ๆ รักษาไปตามอาการที่เป็น ให้น้ำเกลือและให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ การใช้เครื่องช่วยหายใจ
รักษาสุขอนามัยพื้นฐาน เพื่อให้ร่างกายมีสุขภาพที่แข็งแรง ลดโอกาสติดเชื้อต่าง ๆ ซึ่งรวมทั้งเชื้อคอตีบและเชื้ออื่น ๆ รู้จักใช้หน้ากากอนามัย และการร่วมมือกันในชุมชนในการรักษาสิ่งแวดล้อมให้มีสุขอนามัยที่ดี ซึ่งจะช่วยลดการติดเชื้อต่าง ๆ ได้ ฉีดวัคซีนป้องกันคอตีบ “โรคคอตีบ” ภัยเงียบที่กำลังกลับมาคุกคามชีวิต ในช่วง 5-6 ปีหลังมานี้ หากติดตามข่าวสารด้านสุขภาพกันดีๆ จะสังเกตได้ว่า ภาวะการระบาดของเชื้อโรค..มีมากขึ้น.. ซึ่งเชื่อเหลือเกินว่าทุกคนคงจะคุ้นเคยกับชื่อโรคเหล่านี้ โรคไข้หวัดนก (Bird Flu H5N1) โรคไข้หวัดหวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 (H1N1 2009) กับชื่อโรคที่ผู้คนทั่วโลก รวมทั้งในประเทศไทยเราเอง ต่างก็ตื่นตระหนกและให้ความสําคัญกับการป้องกันโดยการฉีดวัคซีนป้องกัน (ในช่วงนั้นยังมี เจลล้างมือวางขายอยู่หลายยี่ห้ออีกด้วย) นอกจากนี้ ยังมีอีกหนึ่งโรคที่เชื่อว่าแทบทุกคนคงจะเคยได้ชื่อกันมาตั้งแต่เด็กๆ กันแล้ว และเชื่อว่ากว่าร้อยละ 95 ได้รับวัคซีนคุ้มกันมาเป็นที่เรียบร้อย นั่นคือ “โรคคอตีบ”

โรคคอตีบคืออะไร ลักษณะอาการเป็นอย่างไร ? ตีบตันของทางเดินหายใจ ซึ่งอาจทําให้เสียชีวิตได้ พิษของเชื้ออาจทําให้มีอันตรายต่อกล้ามเนื้อหัวใจและเส้นประสาทส่วน ปลาย ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการไข้ต่ำๆ มีอาการคล้ายหวัดในระยะแรก มีอาการไอ เจ็บคอ เบื่ออาหาร ในเด็กโตอาจจะบ่นเจ็บคอคล้ายกับคออักเสบ บางรายอาจจะพบต่อมน้ำเหลืองที่คอโตด้วย เมื่อตรวจดูในคอพบแผ่นเยื่อสีขาวปนเทาติดแน่นอยู่บริเวณทอนซิลและบริเวณลิ้นไก่ แผ่นเยื่อนี้เกิดจากพิษที่ออกมาทําาให้มีการทําลายเนื้อเยื่อและทําให้มีการตายของเนื้อเยื่อทับซ้อนกัน เกิดเป็นแผ่นเยื่อติดแน่นกับเยื่อบุในลําคอตำแหน่งที่อาจพบการอักเสบและมีแผ่นเยื่อได้ เช่น ในจมูก ทําให้มีน้ำมูกปนเลือดเรื้อรัง มีกลิ่นเหม็น ในลําคอและที่ทอนซิล ซึ่งแผ่นเยื่ออาจจะเลยลงไปในหลอดคอจะทําให้ทางเดินหายใจตีบตัน หายใจลําบาก และอาจทําให้เสียชีวิตได้ ตําแหน่งอื่นๆ ได้แก่ ที่ผิวหนัง เยื่อบุตา หรือในช่องหู
ภาวะการระบาดเกิดขึ้นจากสาเหตุใด ? การระบาดที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน น่าจะเป็นผลจากการที่ไม่ได้รับวัคซีนกระตุ้นในเด็กวัยรุ่นและผู้ใหญ่ ทําให้ไม่มีภูมิคุ้มกันที่จะป้องกันโรคได้ เมื่อพบผู้ป่วยโรคคอตีบขึ้น จึงมีการแพร่กระจายไปยังคนเหล่านี้ได้ รวมทั้งแพร่กระจายเชื้อไปยังเด็กที่ยังไม่เคยได้รับวัคซีนหรือยังได้รับวัคซีนไม่ครบด้วยโรคคอตีบ สามารถพบได้ในทุกช่วงอายุ แต่มักไม่พบในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 1 ปี เนื่องจากเด็กในช่วงอายุนี้ได้ภูมิคุ้มกันต้านทานโรคจากแม่แล้วและมีโอกาสสัมผัสโรคน้อย ในประเทศที่ยังไม่พัฒนามักจะพบโรคคอตีบในเด็กเล็กได้มาก อาจเป็นเพราะเด็กอาจยังไม่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคนั่นเอง แต่ในประเทศที่พัฒนาแล้วจะพบอุบัติการณ์ของโรคคอตีบได้น้อย แต่ถ้าหากพบโรค มักจะพบในคนตั้งแต่อายุ 15 ปีขึ้นไป เนื่องจากการขาดการฉีดวัคซีนกระตุ้น ส่วนอาการที่พบในเด็กและในผู้ใหญ่จะมีลักษณะคล้ายๆ กัน

เมื่อสงสัยว่าเป็นโรคคอตีบ แพทย์จะให้การรักษาผู้ป่วยในโรงพยาบาล และอยู่ในห้องแยกโรคเพื่อป้องกันการแพร่กระจาย เนื่องจากเป็นโรคที่มีอาการรุนแรง แนวทางการรักษาได้แก่ การให้ยาต้านสารพิษของเชื้อและการให้ยาปฏิชีวนะ นอกจากนั้นต้องเฝ้าระวังเรื่องระบบหายใจอย่างใกล้ชิด เนื่องจากอาจมีการอุดทางเดินหายใจได้ และเฝ้าระวังระบบไหลเวียน เนื่องจากโรคคอตีบอาจทําให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ เกิดหัวใจล้มเหลวหรือความดันโลหิตต่ำได้
ในเด็กจะเริ่มฉีดวัคซีนป้องกันโรคคอตีบเมื่ออายุ 2 เดือน โดยอยู่ในรูปแบบของวัคซีนรวม โรคคอตีบ โรคบาดทะยัก และโรคไอกรน (DTwP หรือ DTaP) โดยเข็มแรกฉีดเมื่ออายุได้ 2 เดือน เข็มที่ 2 โรคคอตีบ สามารถพบได้ในทุกช่วงอายุ แต่มักไม่พบในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 1 ปี เนื่องจากเด็กในช่วงอายุนี้ได้ภูมิคุ้มกันต้านทานโรคจากแม่แล้วและมีโอกาสสัมผัสโรคน้อย ในประเทศที่ยังไม่พัฒนามักจะพบโรคคอตีบในเด็กเล็กได้มาก อาจเป็นเพราะเด็กอาจยังไม่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคนั่นเอง แต่ในประเทศที่พัฒนาแล้วจะพบอุบัติการณ์ของโรคคอตีบได้น้อย แต่ถ้าหากพบโรค มักจะพบในคนตั้งแต่อายุ 15 ปีขึ้นไป เนื่องจากการขาดการฉีดวัคซีนกระตุ้น ส่วนอาการที่พบในเด็กและในผู้ใหญ่จะมีลักษณะคล้ายๆ กันโรคตีบที่กําลังระบาดในเด็กและในผู้ใหญ่
การให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ (Toxoid) ให้ครอบคลุม ควรเริ่มในเด็กทารกด้วย วัคซีน DTP ซี่งประกอบด้วย Toxoid คอตีบToxoid บาดทะยัก และวัคซีนไอกรน โดยฉีดในเด็ก อายุ 2-3 เดือน ฉีดเข็ม 2 และ 3 ห่างกันเข็มละ 2 เดือน แล้วฉีดกระตุ้นหลังเข็มสุดท้ายประมาณ 1 ปี สำหรับเด็กหรือผู้สัมผัสโรค ควรฉีด Antitoxin โดยพิจารณาปริมาณตามความรุนแรงของโรค เพื่อป้องกันโรค ไม่ควรใกล้ชิดผู้ป่วย จนกว่าจะสามารถพิสูจน์ได้ว่า เด็กนั้นไม่เป็นพาหะของโรคแล้ว สำนักงานป้องกันควบคุมโรค “โรคนี้มีโอกาสเกิดได้ในกลุ่มผู้ที่ไม่เคยได้รับการฉีดวัคซีน จึงขอแนะนำให้ผู้ปกครองพาเด็กไปรับการฉีดวัคซีนตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด และต้องฉีดให้ครบตามจำนวน ซึ่งจะมีผลป้องกันไม่ให้ป่วยจากโรคนี้หากประชาชนมีอาการป่วยดังกล่าว ขอให้ไปพบแพทย์ทันทีเพื่อให้การรักษาอย่างรวดเร็ว ก็จะป้องกันการเสียชีวิตได้ เนื่องจากโรงพยาบาลทุกแห่งมียาปฏิชีวนะรักษาและใช้ได้ผลดี ประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ที่พบผู้ป่วยขอให้ป้องกันตัวเอง โดยมีมาตรการทางสุขอนามัย หลีกเลี่ยงการเข้าไปอยู่ในพื้นที่ที่มีคนแออัดหนาแน่น และล้างมือบ่อยๆ ไอจามควรปิดปากปิดจมูก หากป่วยเป็นเป็นโรคทางเดินหายใจต้องใส่หน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อแพร่ไปติดคนอื่น” ความรู้เรื่องโรคคอตีบ นอกจากนี้สารพิษที่เชื้อโรคคอตีบปล่อยออกมายังสามารถทำให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบและเส้นประสาทส่วนปลายอักเสบด้วย โรคคอตีบเป็น โรคที่มีอัตราการตายสูงมากในผู้ป่วย 10 ราย จะมีผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย ซึ่งผู้ป่วยอาจเสียชีวิตจากทางเดินหายใจอุดตันหรือจากกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบจนเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวก็ได้ การติดต่อของโรคคอตีบ ติดต่อทางการหายใจ จากการไอ จามรดกันหรือพูดคุยกันในระยะใกล้ชิด เชื้อโรคจะเข้าสู่ผู้สัมผัสทางปากหรือทางการหายใจ บางครั้งติดต่อโดยการใช้ภาชนะร่วมกันเช่น แก้วน้ำ ช้อน หรือ การอมดูดของเล่นร่วมกันใน เด็กเล็กระยะฟักตัวของโรค 1-7 วัน เฉลี่ย 3 วัน ผู้ป่วยโรคคอตีบที่ยังไม่มีอาการสามารถแพร่เชื้อที่อยู่ในจมูกหรือลำคอไปสู่ผู้อื่นได้เพราะเชื้อโรคจะอยู่ในลำคอผู้ป่วยที่ไม่ได้เข้ารับการรักษา ประมาณ 2 สัปดาห์ อาการผู้ป่วยโรคคอตีบ เริ่มต้นด้วยมีไข้ต่ำๆ มีอาการคล้ายหวัดในระยะแรก แต่ไม่มีน้ำมูก มีอาการไอก้อง เจ็บคอ เบื่ออาหาร ต่อมาจะมีแผ่นฝ้าสีขาวอมเทาติดแน่นบริเวณ ทอนซิลช่องคอหรือโพรงจมูก กล่องเสียง ในรายอาการรุนแรง จะมีการตีบตันของทางเดินหายใจ การหายใจล้มเหลวและเสียชีวิต
โรคนี้รักษาให้หายได้ ด้วยการไปพบแพทย์เพื่อสั่งยาปฏิชีวนะให้รับประทานนาน 14 วัน ซึ่งสามารถหยุดการแพร่เชื้อโรคได้ภายใน 48 ชั่วโมง หลังเริ่มให้ยาบาง รายอาจได้รับยาทำลายพิษของเชื้อโรคคอตีบร่วมด้วย ในผู้ป่วยที่มีอาการอุดกั้นทางเดินหายใจต้องเจาะคอ เพื่อช่วยหายใจ หลังจากหายเป็นปกติผู้ป่วยต้องได้รับวัคซีนป้องกัน โรคคอตีบให้ครบถ้วนตามเกณฑ์เพราะการป่วยด้วยโรคคอตีบไม่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้มีระดับเพียงพอต่อการป้องกันโรคคอตีบในการติดเชื้อครั้งต่อไป
การป้องกันคอตีบ หากได้รับการสัมผัสกับผู้ที่เป็นคอตีบ ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อรับการตรวจสอบและการรักษาที่สามารถทำได้ทันท่วงที ซึ่งแพทย์อาจสั่งยาปฏิชีวนะเพื่อช่วยป้องกันการพัฒนาของโรค นอกจากนั้น อาจต้องได้รับวัคซีนป้องกันโรคคอตีบเพิ่มเติม โดยการป้องกันที่ดีที่สุด คือการรับวัคซีนป้องกันโรคคอตีบ ซึ่งในประเทศไทยแนะนำให้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคคอตีบตั้งแต่ช่วงทารกและวัยเด็ก รวมถึงการฉีดวัคซีนกระตุ้นในช่วงวัยรุ่นหรือวัยผู้ใหญ่ โดยวัคซีนที่ใช้เพื่อป้องกันมี 4 ชนิด ได้แก่ DTaP, Tdap, DT และ Td โดยวัคซีนเหล่านี้ใช้ในการป้องกันทั้งโรคคอตีบและบาดทะยัก วัคซีน DTaP และ Tdap ยังใช้ในการป้องกันโรคไอกรนได้อีกด้วย ส่วนวัคซีน DTaP และ DT จะใช้กับเด็กเล็กที่มีอายุต่ำกว่า 7 ปี ส่วน Tdap และ Td จะใช้ในเด็กโต วัยรุ่น และผู้ใหญ่
ติดตามข้อมูลได้ที่ : โรคต่างๆเกี่ยวกับสุขภาพ
สามารถติดตามข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพเพิ่มเติมได้ที่ : ramahealthy