ramahealthy

โรคพุ่มพวง

โรคแพ้ภูมิตัวเอง หรือโรค SLE (Systemic Lupus Erythematosus) กับอีกชื่อนึงที่หลายๆ คนน่าจะคุ้นเคยดีหรือเคยได้ยินผ่านหูกับ โรคพุ่มพวง เป็นโรคที่มีระดับความรุนแรงในผู้ป่วยแตกต่างกันไป และยังมีปัจจัยการเกิดโรคได้หลายสาเหตุ โรค SLE ไม่ใช่โรคติดต่อ เพราะไม่ใช่โรคติดเชื้อ แต่พันธุกรรมก็มีส่วน เช่น ถ้าเรามีญาติหรือพ่อแม่ที่เป็น โรค SLE เราก็อาจจะมีความเสี่ยงในการเป็นโรค SLE มากกว่าคนทั่วไป ซึ่งส่วนใหญ่จะพบผู้ป่วยในช่วงอายุ 20-40 ปี โดยเฉพาะส่วนมากในเพศหญิง เนื่องจากฮอร์โมนเพศหญิงจะมีความเซนซิทีฟต่อการเกิดโรคนี้มากกว่าผู้ชาย แต่พออายุมากขึ้นการควบคุมโรคจะทำได้ง่ายขึ้น เพราะภูมิคุ้มกันทำงานลดล โรคเอสแอลอี เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิต้านทาน เกิดจากร่างกายมีการสร้างสารบางอย่างออกมาทำลายตัวเอง ซึ่งปกติแล้วร่างกายของเราจะสร้างสารออกมาเพื่อฆ่าเชื้อโรคและทำลายสิ่งแปลกปลอม แต่โรคอันนี้ร่างกายดันมองเห็นว่าเซลล์ในร่างกายของเราเป็นเชื้อโรค ร่างกายเราก็เลยสร้างสารอักเสบขึ้นมาเพื่อที่จะฆ่าสิ่งแปลกปลอมในร่างกาย จึงทำให้ร่างกายเกิดการอักเสบภายในอวัยวะ ทำให้อวัยวะนั้นๆ ไม่สามารถทำงานได้เป็นปกติ เช่น มองเห็นผิวหนังเป็นศัตรู ก็จะทำให้ผิวหนังเป็นผื่น ผิวหนังเกิดการอักเสบ หรือมองเห็นไตเป็นศัตรูก็ทำให้ไตเกิดการอักเสบ รวมถึงเห็นเนื้อเยื่อที่เม็ดเลือดเป็นศัตรู ก็ทำให้เกิดภาวะเลือดจาง เม็ดเลือดขาวต่ำ เกล็ดเลือดต่ำ เป็นต้น 

โรคพุ่มพวง

ระดับโปรตีนที่เพิ่มขึ้นหรือเซลล์เม็ดเลือดแดงที่เพิ่มขึ้นในปัสสาวะ อาจมาจากการป่วยด้วยโรคพุ่มพวงจนมีผลกระทบต่อไต การฉายภาพ ในรายที่ต้องสงสัยว่าเป็นโรคพุ่มพวง แพทย์จะเอกซเรย์ช่วงอก หรือตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงเพื่อดูผลกระทบที่เกิดจากโรคต่อปอดและหัวใจ เช่น สังเกตปริมาณของเหลวหรือการอักเสบของปอด อัตราการเต้นของหัวใจ ความผิดปกติของลิ้นหัวใจและส่วนอื่น ๆ ในบริเวณใกล้เคียง

ภูมิคุ้มกันที่ทำงานผิดปกติจะทำให้เกิดอาการเจ็บป่วยจนอาจส่งผลกระทบต่ออวัยวะและระบบต่าง ๆ ภายใน ได้แก่ เลือด อาจเกิดภาวะโลหิตจาง เสี่ยงต่อการเสียเลือด การเกิดลิ่มเลือดอุดตัน และการติดเชื้อในกระแสเลือด ปอด อาจเกิดเยื่อหุ้มปอดอักเสบที่สร้างความเจ็บปวดในขณะหายใจ และเสี่ยงต่อปอดอักเสบได้ ไต อาจเกิดความเสียหายจากการอักเสบภายใน หรืออาจเกิดภาวะไตวายที่เสี่ยงต่อการเสียชีวิต หัวใจ อาจเกิดการอักเสบที่กล้ามเนื้อหัวใจ หลอดเลือดแดง และเยื่อหุ้มหัวใจ เสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน สมองและระบบประสาทส่วนกลาง อาจเกิดอาการที่มีความรุนแรงน้อยไปจนรุนแรงมาก ตั้งแต่ปวดหัว เวียนหัว มีพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป มีปัญหาด้านความจำ ประสาทหลอน เป็นโรคหลอดเลือดสมอง ตลอดจนเกิดภาวะชัก นอกจากนี้ ผู้ป่วยโรคพุ่มพวงยังเสี่ยงต่อการติดเชื้อในอวัยวะและระบบต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้น ทั้งจากการทำงานที่ผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันเอง และจากการรักษาโรคที่ต้องรับประทานยาลดการทำงานของภูมิคุ้มกันลง เสี่ยงต่อการเกิดภาวะกระดูกตายจากการขาดเลือด รวมถึงเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด ภาวะครรภ์เป็นพิษ และการแท้งลูกในผู้ป่วยที่ตั้งครรภ์ การป้องกันโรคพุ่มพวง แม้ยังไม่มีวิธีการป้องกันโรคพุ่มพวงได้ แต่คนทั่วไปสามารถหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่อาจทำให้เกิดโรคได้ อย่างการดูแลสุขภาพ ไม่สูบบุหรี่ ไม่ตากแดดที่ร้อนจ้าหรือเป็นเวลานาน และหลีกเลี่ยงสารเคมีเป็นพิษในชีวิตประจำวัน ส่วนผู้ที่ป่วยด้วยโรคพุ่มพวง สามารถเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกับการป่วยอย่างเข้าใจ และลดการกำเริบของโรคได้โดย รับประทานยาตามกำหนด ไปพบแพทย์อย่างสม่ำเสมอ และรีบไปพบแพทย์เมื่อมีอาการกำเริบ ควบคุมอาหาร รับประทานแต่สิ่งที่มีประโยชน์และไม่ทำให้เกิดอาการแพ้ พักผ่อนอย่างเพียงพอ ไม่สูบบุหรี่ หลีกเลี่ยงหรือลดการสัมผัสกับแสงแดด และสารเคมี ออกกำลังกายอย่างพอดี หลีกเลี่ยงการใช้แรงหรือออกกำลังกายในขณะที่มีอาการกำเริบ รักษาสุขภาพจิต เรียนรู้วิธีการจัดการกับความเครียด

อาการทางผิวหนัง มีผื่นเฉพาะโรค เป็นรูปผีเสื้อตั้งแต่สันจมูกไปสู่โหนกแก้ม ผื่นวงแดงตามใบหน้า หนังศีรษะ และใบหู แผลที่เพดานปากเป็นๆ หายๆ และอาการทางผิวอื่นๆ ที่พบได้บ่อย คือ ผมร่วง ผื่นตามตัวตาม แพ้แสงแดด ปลายมือปลายเท้าซีด อาการทางข้อและกล้ามเนื้อ จะมีอาการปวดข้อมากกว่าลักษณะอักเสบ มักเป็นที่ข้อ เข่า ข้อนิ้วมือ ข้อที่เหมือนกันทั้งสองข้างคล้ายการอักเสบจากรูมาตอยด์ แต่จะต่างกันตรงที่อาการทางข้อของโรคเอสแอลอี ไม่มีอาการการกัดกร่อนของข้อ

โรคพุ่มพวง

แต่พันธุกรรมก็มีส่วน เช่น ถ้าเรามีญาติหรือพ่อแม่ที่เป็น โรค SLE เราก็อาจจะมีความเสี่ยงในการเป็นโรค SLE มากกว่าคนทั่วไป ซึ่งส่วนใหญ่จะพบผู้ป่วยในช่วงอายุ 20-40 ปี โดยเฉพาะส่วนมากในเพศหญิง เนื่องจากฮอร์โมนเพศหญิงจะมีความเซนซิทีฟต่อการเกิดโรคนี้มากกว่าผู้ชาย แต่พออายุมากขึ้นการควบคุมโรคจะทำได้ง่ายขึ้น เพราะภูมิคุ้มกันทำงานลดล ปรึกษาโรคแพ้ภูมิตัวเอง โรคแพ้ภูมิตัวเองเกิดจากอะไร โรคแพ้ภูมิตัวเอง อาการทางข้อและกล้ามเนื้อ จะมีอาการปวดข้อมากกว่าลักษณะอักเสบ มักเป็นที่ข้อ เข่า ข้อนิ้วมือ ข้อที่เหมือนกันทั้งสองข้างคล้ายการอักเสบจากรูมาตอยด์ แต่จะต่างกันตรงที่อาการทางข้อของโรคเอสแอลอี ไม่มีอาการการกัดกร่อนของข้อ

ปัจจุบันการแพทย์มีความก้าวหน้าไปอย่างมาก ถึงแม้โรค SLE เป็นโรคแพ้ภูมิตัวเองที่ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด และยังรักษาไม่หายขาด แต่เราก็สามารถควบคุมโรคให้สงบลงได้ อาจจะรักษาควบคู่กับการแพทย์ทางเลือก (Alternative Medicine) เช่น การทำโอโซนบำบัด (Ozone Therapy) การตรวจหาสารพิษสะสมในร่างกาย (Toxic Heavy Metal) การตรวจ VitaminD3 การตรวจสมดุลลำไส้ (Gut Microbiome DNA Test) และการเสริมวิตามิน NAD+ Therapy ก็เป็นอีกหลายๆ ตัวเลือก ที่ช่วยให้ผู้ป่วย SLE มีอาการที่ดีขึ้น แต่ทั้งนี้ก็ต้องขึ้นอยู่กับคำแนะนำของแพทย์ เพราะผู้ป่วยโรค SLE มีอาการที่แตกต่างกัน หากไม่มั่นใจหรือมีคำถาม สามารถนัดหมายเข้ามาปรึกษาที่ W9 Wellness เพื่อจะได้วางแผนการรักษาและการปรับการใช้ชีวิต (Lifestyle modification) เพื่อให้ผู้ป่วยมีอาการที่ดีขึ้น สามารถกลับมาใช้ชีวิตอย่างมีความสุขเหมือนคนปกติทั่วไป

อธิบดีกรมการแพทย์ชี้โรคแพ้ภูมิตัวเองทำให้เกิดการอักเสบเรื้อรัง ของอวัยวะต่างๆ มีความรุนแรงแตกต่างกัน ตั้งแต่มีผื่น ปวดข้อ ไปจนถึงอาการแสดงที่มีความรุนแรงถึงเสียชีวิต พบได้บ่อยในหญิงมากกว่าชาย แนะผู้ป่วย SLE หากสงสัยว่าจะมีการติดเชื้อหรือมีอาการผิดปกติ ที่อาจบ่งชี้ว่าโรคกำเริบ เช่น อาการไข้ อ่อนเพลียมีผื่นขึ้นมากกว่าเดิม ปวดข้อ ผมร่วง มีแผลในปาก เป็นต้น ควรปรึกษาแพทย์เพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง

นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ เปิดเผยว่า โรคแพ้ภูมิตัวเอง หรือโรค SLE (Systemic Lupus Erythematosus, SLE) เป็นโรคภูมิต้านทานตนเองทำลายเนื้อเยื่อตัวเอง ทำให้เกิดการอักเสบเรื้อรัง อาการของโรคจะเป็นๆ หายๆ มีการกำเริบและสงบเป็นระยะ พบได้บ่อยในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย สาเหตุที่แท้จริงไม่ทราบแน่ชัด แต่มีปัจจัยทางพันธุกรรม และปัจจัยอื่น ส่งเสริมทำให้เกิดโรค ได้แก่ การติดเชื้อ ยา แสงแดด สารเคมีในสิ่งแวดล้อม อาการของโรคนี้จะแสดงความผิดปกติในร่างกายหลายระบบร่วมกัน เช่น ผื่นโรค SLE ระบบผิวหนัง ระบบประสาท ระบบหัวใจและหลอดเลือด กล้ามเนื้อและข้อ เม็ดเลือด ไต ระบบทางเดินหายใจ ผมร่วง เป็นต้น ดังนั้น ผู้ป่วยโรค SLE จึงมีอาการแสดงทางคลินิกที่หลากหลาย และมีความรุนแรงแตกต่างกัน ตั้งแต่อาการที่ไม่รุนแรง เช่น มีผื่น ปวดข้อ ไปจนถึงอาการแสดงที่มีความรุนแรงถึงเสียชีวิต เช่น ไตอักเสบ ดังนั้น การดูแลรักษาผู้ป่วยแต่ละรายจึงมีความแตกต่างกัน และแม้ว่าจะเป็นโรคที่รักษาไม่หายแต่ผู้ป่วยสามารถมีคุณภาพชีวิตใกล้เคียงกับคนปกติ

ติดตามข้อมูลได้ที่ : โรคต่างๆเกี่ยวกับสุขภาพ

สามารถติดตามข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพเพิ่มเติมได้ที่ : ramahealthy

ติดต่อสอบถาม และ เข้าร่วมกิจกรรม ได้ที่ LINE : @UFA656

โปรดยืนยันว่าคุณบรรลุข้อกำหนดด้านอายุตามกฎหมาย (18 ปีขึ้นไป) เพื่อดำเนินการต่อ